วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

YOGA MUSIC

                  Yoga  Water

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 01. Om Namah Shivaya

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 02. Air, Oil

 คลิกฟังออนไลน์ :

font size="3" color="#0000FF">Music For Yoga - 03. Peace Through Kindness

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 04. Love Has No Boundries

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 05. Sleeping Woman

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 06. Opening

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 07. Devotion

 คลิกฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 08. Songs For Peace

 ฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 09. Planet

 ฟังออนไลน์ :

Music For Yoga - 10. Yemaya Assessu

 คลิกฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 01. Jai Ma

 คลิ๊กฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 02. Kashi Vishwanath Gange

 คลิกฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 03. Gopala

 คลิกฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 04. Govindah

 คลิกฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 05. Raghupati

 ฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 06. Prayer To Rudra

 ฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 07. Sri Ram

 ฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 08. Ganashyama

 ฟังออนไลน์ :

Planet Yoga - 09. Gayatri Mantra

 ฟังออนไลน์ :

Meditative Yoga - 01. Friends (Prem Joshua)


 คลิกฟังออนไลน์ :

Meditative Yoga - 02. That Silent Place (Prem Joshua)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Jinjhoti (Chinmaya Dunster & Niladri Kumar)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Srita Kamala (Rasa)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Ha-Ta (Chinmaya Dunster)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Raga Kanshik Ranjana (Ustad Usman Khan)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Astral (Hans Christian)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Blue Raga (Al Gromer Khan)

 คลิกฟังออนไลน์ :

Mount Kailash (Chinmaya Dunster)

 ฟังออนไลน์ :

Konark (Chinmaya Dunster)

 ฟังออนไลน์ :

Aurora

 คลิกฟังออนไลน์ :

Yoga - 02. Visions Part 1

 คลิ๊กฟังออนไลน์ :

Yoga - 03. Stargazer

 คลิกฟังออนไลน์ :

Yoga - 04. Heavenly Delight Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Yoga - 05. Andes Calling

 คลิกฟังออนไลน์ :

Yoga - 06. Sanctum Part 1

 ฟังออนไลน์ :

Yoga - 07. Rustling Speargrass

 ฟังออนไลน์ :

Yoga - 08. Drifting

 ฟังออนไลน์ :

Yoga - 09. Rising Star

 ฟังออนไลน์ :

Yoga - 10. Fountain Of Life Part 1

 ฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 01. Earth Blue-Deuter


 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 02. Earth & Sky-Terry Oldfield

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 03. Raindance-Parijat

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 04. Natural World-Lisa Lynne

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 05. Bhattiyali-Chinmaya Dunster

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 06. Lotus Path-James Asher

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 07. Seven Sacred Pools-Deuter

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 08. Rising Sun-Terry Oldfield

 คลิกฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 09. Spirit Gathering-Kamal

 ฟังออนไลน์ :

Inner Balance - 10. Guaranga Karuna-Rasa

 ฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 01. Spirit Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 02. Spirit Part 2

 คลิ๊กฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 03. Rising Star Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 04. Rising Star Part 2

 คลิกฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 05. Frost And Fall Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 06. Frost And Fall Part 2

 ฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 07. Distant Origins Part 1

 ฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 08. Distant Origins Part 2

 ฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 09. Nature Clusters Part 1

 ฟังออนไลน์ :

CD1 - I Love Yoga - 10. Nature Clusters Part 2

 ฟังออนไลน์ :

CD2 - I Love Yoga - 01. Higher Spirit Part 1


 คลิกฟังออนไลน์ :

Higher Spirit Part

 คลิกฟังออนไลน์ :

Fountain Paradise Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Fountain Paradise Part 2

 คลิกฟังออนไลน์ :

Liquid Feelings Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Liquid Feelings Part 2

 คลิกฟังออนไลน์ :

Aquarella Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Aquarella Part 2

 คลิกฟังออนไลน์ :

Promise Part 1

 ฟังออนไลน์ :

Promise Part 2

 ฟังออนไลน์ :

New Dawn Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

New Dawn Part 2

 คลิ๊กฟังออนไลน์ :

Windsong Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Windsong Part 2

 คลิกฟังออนไลน์ :

Beyond The Rim Part 1

 คลิกฟังออนไลน์ :

Beyond The Rim Part 2

 ฟังออนไลน์ :

Horizon Interlude Part 1

 ฟังออนไลน์ :

Horizon Interlude Part 2

 ฟังออนไลน์ :

Waterspell Part 1

 ฟังออนไลน์ :

Waterspell Part 2

 ฟังออนไลน์ :

Floral Drift




กำเนิดโยคะ [ Origins of YOGA ]


โยคะ เกิดขึ้นที่อินเดียเมื่อประมาณ 4 - 5 พันปีที่ผ่านมา เดิมจะเป็นการฝึกเฉพาะโยคีและชนชั้นวรรณะพราหมณ์
เพื่อเอาชนะความเจ็บป่วย ต่อมาโยคะได้พัฒนาผ่านลัทธิฮินดู มายุคพุทธศาสนา ถึงยุคลัทธิเซนในประเทศจีน
โดยแท้จริงแล้ว โยคะไม่ได้เป็นศาสตร์ของศาสนาใดศาสนาหนึ่ง แต่เป็นศาสตร์สากลที่ศาสนาต่าง ๆ สามารถนำมาเป็นส่วนหนึ่ง
ในการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดแห่งศาสนานั้น ๆ โยคะจึงเป็นที่แพร่หลายไปทั่วโลก โดยเฉพาะ หะฐะโยคะ( Hatha Yoga )
ซึ่งจัดว่าเป็น Modern Yoga ที่พัฒนามาจากการรวมแบบโยคะดั้งเดิม กับวิธีปฏิบัติของพระพุทธศาสนา



ความหมายของโยคะ [ Meaning Of YOGA ]

โยคะ หมายถึง การสร้างความสมดุลของร่างกาย-จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยรวมให้เป็นหนึ่งเดียว
หะฐะโยคะ (HATHA YOGA) เป็น 1 ในสาขาโยคะทั้งหมด หะฐะโยคะ จะใช้ศิลปการบริหารร่างกาย ภายใต้การควบคุมของจิตใจ
เกิดความสมดุลของพลังด้านบวกและด้านลบ โยคะจึงช่วยบรรเทาและบำบัดโรคได้
หะฐะโยคะ จึงเป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบัน ที่ผู้คนเห็นความสำคัญของ สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี



โยคะท่าพื้นฐาน

ท่านมัสการ




ความหมาย


• นมัสการ หมายถึง ทำความเคารพ



วิธีปฏิบัติ


• ยืนหันหน้าไปทางพระอาทิตย์ เท้าชิด พนมมือ

• หายใจเช้าและยกแขนขึ้น ค่อยๆ เอนตัวไปข้างหลัง ยื่นแขนเหนือศีรษะ

• หายใจออกช้าๆ เอนตัวไปข้างหน้า ให้มือที่พนมอยู่สัมผัสพื้นจนกระ ทั่งมืออยู่ในแนวเดียวกับเท้าศีรษะสัมผัสหัวเข่า

• หายใจเข้า ก้าวเท้าขวาถอยหลังมา 1 ก้าว ให้มือและเท้า ยังคงอยู่กับพื้น เท้าซ้ายอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง ยกศีรษะขึ้น

• ขณะหายใจออก ยกเท้าซ้ายเข้ามาชิดเท้าขวา แขนตรงยกสะโพกขึ้นให้ศีรษะ และแขนอยู่ในแนวเดียวกัน ทำท่าเป็นรูปโค้งขึ้น

• หายใจเข้าและค่อยๆ ลดสะโพกลงมาที่พื้น (ให้สะโพกอยู่เหนือพื้นเล็กน้อย) ก้มตัวลงไปข้างหลังให้มากที่สุด

• หายใจออก และลดตัวลงมาที่เท้า เข่า มือ และอก สัมผัสพื้น

• หายใจเข้า และค่อยๆยกศีรษะขึ้น เงยศีรษะไปข้างหลังให้ได้มากที่สุด และโค้งกระดูกสันหลังไปให้ได้มากที่สุด เหมือนท่านาคอาสนะ

• ขณะหายใจออกช้าๆ และให้แขนอาสนะ ยกสะโพกขึ้น และให้ศีรษะอยู่ในแนวเดียวกับแขน ทำเป็นรูปโค้งขึ้น

• หายใจเข้าช้าๆ และงอเข่าซ้าย ก้าวไปข้างหน้าหนึ่งก้าว มือยังคงอยู่ที่พื้น วางเท้าซ้ายลงบนพื้นระหว่างมือทั้งสองข้าง ยกศีรษะขึ้น

• หายใจออกช้าๆ ให้มืออยู่ที่เดิม ดึงเท้าทั้งสองเข้ามาชิดกัน ให้อยู่แนวเดียวกับมือถ้าเป็นไปได้ ให้ศีรษะสัมพันธ์กับหัวเข่า

• หายใจเข้าช้าๆ และยกแขนขึ้น ค่อยๆเอนตัวไปข้างหลัง โดยยื่นแขนขึ้นเหนือศีรษะ ย้อนกลับไปตำแหน่งยังข้อ 1



ท่าชวังคอาสนะ




ความหมาย

• ในภาษาสันสกฤต ชว หมายถึง ทั้งหมด หรือ ทุกๆ อังคะ หมายถึง ร่างกาย ชวังคะ จึงหมายถึง ทำทั้งร่างกาย

ที่เรียกเช่นนี้เพราะเป็นท่าที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายทุกส่วน ท่านี้มักเรียกกันว่า ท่ายืนบนไหล่

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงายในท่า ศพอาสนะ

• หายใจเข้า วางฝ่ามือคว่ำลงบนพื้น ให้สะโพกอยู่บนพื้นขณะงอเข่าและดึงเข่าเข้ามาที่ท้อง หายใจออก

• หายใจเข้าช้าๆ กดฝ่ามือลง ยกลำตัวตั้งแต่ส่วนเอวขึ้นจากพื้น งอกระดูกสันหลังไปข้างหลัง และทำท่อนแขนให้ตรง ให้สะโพกอยู่บนพื้น

• หายใจเข้าแล้วในขณะหายใจออก ให้ยกขาตั้งฉากกับพื้น อาจใช้มือพยุงสะโพกไว้ หรือวางแขนไว้ลงกับพื้นตามถนัด

• ขาดชิด เข่าตรง นิ้วเท้าชี้ขึ้น ศีรษะตรงไม่หันไปด้านใดด้านหนึ่ง เก็บคางให้ชนหน้าอก

• หายใจเข้า ออก ช้าๆ ขณะคงท่านี้ไว้

• ทำย้อนกลับจากข้อ 6 จนกลับสู่ท่าศพอาสนะ



ท่าตรีโกณอาสนะ



ความหมาย

• คำว่า ตรี ในภาษาสันสกฤตหมายถึง สาม โกณ หมายถึง เหลี่ยมหรือมุม

ดังนั้น ท่านี้จึงเรียกว่า ท่าสามมุม หรือท่าสามเหลี่ยม

วิธีปฏิบัติ


• ยืนเท้าชิดแขนแนบลำตัว

• แยกเท้าออกจากกัน ให้ระยะห่างมากกว่าหนึ่งช่วงไหล่เล็กน้อย

• หายใจเข้าและยื่นแขนทั้งสองข้างออกให้ขนานกับพื้น ฝ่ามือคว่ำลง

• หายใจออกช้าๆ หันลำตัวไปทางซ้าย งอตัวที่ช่วงเอว ให้มือขวาลงไปที่แข้งซ้าย ฝ่ามือขวา วางไว้ข้างนอกของหน้าแข้งซ้าย

แขนซ้ายควรยื่นออกไปด้านบนขาและแขนทั้งสองข้างตรง โดยไม่ต้องงอเข่าและข้อศอก


• หันศีรษะขึ้นไปทางซ้าย มองไปที่ปลายนิ้วมือซ้าย หายใจเข้า และกลับไปสู่ท่าเดิม คือท่ายืน ให้แขนกางออก

• คงท่านี้ไว้ เท่ากับช่วงหายใจออก หายใจออกและทำซ้ำ ขั้นตอนที่ 4-7 สลับซ้าย



ศีรษะอาสนะ



ความหมาย

• คำว่า ศีรษะ หมายถึง หัว ในภาษาสันสกฤต ท่านี้คือ ท่ายืนด้วยศีรษะ ซึ่งได้รับความนิยมมากในการฝึกอาสนะ ไม่แพ้ท่าปทมอาสนะ

ด้านบนคือภาพโมกุลในศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นภาพโยคีขณะทำท่าศีรษะอาสนะ

วิธีปฏิบัติ


• นั่งคุกเข่า ให้สะโพกอยู่บนส้นเท้า

• เอนตัวไปข้างหน้า วางแขนลงบนพื้น ให้ศอกห่างกัน 1 ช่วงไหล่ ประสานนิ้วมือเข้าไว้ด้วยกัน

• วางศีรษะลงบนพื้น ให้ท้ายทอยสัมผัสมือที่ประสานไว้

• ให้ปลายเท้าจิกพื้น ขณะยกส้นเท้าขึ้น ยกเข่าขึ้นจากพื้น

• คงท่านี้ไว้เป็นระยะเท่ากับการหายใจเข้า ถ้าไม่สามารถกลั้นหายใจได้ ให้ค่อยๆ หายใจออก และนอนราบกับพื้น กางขาออก กลับไปสู่ท่าศพอาสนะ



หลอาสนะ



ความหมาย

• หล แปลว่า คันไถ

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงาย แบบท่าศพอาสนะ

• หายใจเข้า วางฝ่ามือคว่ำที่พื้น ให้สะโพกอยู่บนพื้น งอเข่าเข้ามาจรดท้องขณะหายใจออก

• หายใจเข้า ขณะหายใจออกให้ยกขาขึ้นตั้งฉากกับพื้น คุณอาจใช้มือพยุงสะโพก หรือวางแขนราบไปกับพื้นแล้วแต่ถนัด

• หายใจออก แล้วยกขาขึ้นเหนือศีรษะ งอขาตั้งแต่ช่วงเอวลงมา ยกหลังและสะโพก จนนิ้วเท้าสัมผัสพื้นด้านหลังของศีรษะ รักษาเท้าให้ชิดกัน

หากใช้มือพยุงหลังให้ลองวางแขนราบไปกับพื้น ให้ฝ่ามือคว่ำลง ถ้าไม่สามารถวางแขนลงที่พื้นได้ให้ใช้มือพยุงหลังส่วนล่างไว้


• เข่าตรง หายใจช้าๆ และคงท่านี้ไว้สักครู่ ถ้านิ้วเท้าสัมผัสพื้นไม่ได้ ก็พยายามให้นิ้วเท้าอยู่ต่ำที่สุด

• ทำท่าย้อนกลับตั้งแต่ข้อ 5 ถึง 1 จนกลับไปสู่ท่าศพอาสนะเหมือนเดิม




ธนูอาสนะ




ความหมาย

• คำว่าธนู ในภาษสันสกฤต หมายถึง มีรูปร่างเหมือนคันศร โค้ง หรือ งอ คันศร

ในที่นี้หมายถึง คันศรที่ใช้กับลูกธนู ท่าอาสนะนี้ มีชื่อแบบนี้เนื่องจาก ร่างกายมีท่าทางคล้ายคันศรที่โก่งพร้อมยิงธนู

วิธีปฏิบัติ


• นอนคว่ำหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง แขนราบไปกับลำตัว หงายฝ่ามือขึ้น

• หันหน้ามาเพื่อวางคางไว้บนพื้น หายใจออก งอเข่า เอื้อมแขนไปข้างหลัง จับข้อเท้าขวาไว้ด้วยมือขวา จับข้อเท้าซ้ายด้วยมือซ้าย

• ขณะหายใจเข้า ค่อยๆ ยกขาขึ้นโดยดึงข้อเท้าขึ้น ยกเข่าขึ้นจากพื้น และยกอกขึ้นจากพื้นในเวลาเดียวกัน

กลั้นลมหายใจเข้าเอาไว้ ทิ้งน้ำหนักทั้งหมดลงบนหน้าท้อง


• ยื่นศีรษะให้ไกลที่สุด คงท่านี้ไว้ขณะกลั้นหายใจ

• หายใจออกช้าๆ วางเข่าลงบนพื้น ปล่อยข้อเท้า ค่อยๆ วางขาและแขนลงบนพื้น หันหน้าไปข้างหนึ่ง ทำเหมือนท่าเริ่มต้น



ท่าพิจิกอาสนะ



ความหมาย

• ท่าพิจิกหรือท่าแมงป่อง ในท่านี้ ร่างกายจะดูเหมือนแมลงป่อง ที่ยกหางโค้งขึ้นเหนือหัว พร้อมจะต่อยคู่ต่อสู้

แม้ท่านี้จะดูยากสำหรับผู้เริ่มต้น แต่ก็ไม่ยากเกินไปนัก

วิธีปฏิบัติ


• คุกเข่าลงที่พื้น โน้มตัวไปข้างหน้า วางศอกและแขนด้านในราบไปกับพื้น ให้ฝ่ามือคว่ำลง แขนควรห่างกันประมาณ 1ช่วงไหล่

• ยื่นศีรษะไปข้างหน้าและยกให้สูงที่สุด

• ยกสะโพกขึ้น วางเท้าให้มั่นคง

• หายใจเข้าและแกว่งขาขึ้นไปเหนือศีรษะ รักษาสมดุลของร่างกายไว้ ยกขาตรงขึ้นเหนือศีรษะ

• ค่อยๆ งอเข่าและปล่อยขาลงมาทางด้านศีรษะ ระวังอย่าเคลื่อนไหวเร็วเกินไป และอย่าทิ้งขาลงไปไกลเกินไปขณะรักษาสมดุลของร่างกายไว้

• ทำย้อนกลับจากข้อ 5 จนกลับไปสู่ท่าคุกเข่า

* ข้อควรระวัง ไม่ควรลองท่าแมงป่อง จนกว่าคุณจะสามารถทำท่าที่ต้องใช้สมดุลของร่างกายอื่นๆ และไม่เหมาะกับสตรีมีรอบเดือน



ท่าพฤกษอาสนะ




ความหมาย

• ในภาษาสันสกฤต พฤกษะหมายถึง ต้นไม้ ท่านี้จึงเรียกว่าท่าต้นไม้

"ยืนตรงบนขาซ้าย งอขาขวาและวางขาขวาไว้บนโคนขาซ้าย ยืนเหมือนต้นไม้ ยืนอยู่บนพื้นดิน นี่คือท่าพฤกษอาสนะ"

วิธีปฏิบัติ


• ยืนเท้าชิด แขนแนบลำตัว

• งอเข่าขวา ยกต้นขาขวา และยก ส้นเท้าขวาไปบนต้นขาซ้ายด้าน ในให้โกร่งที่สุดเท่าที่จะทำได้

• ทรงตัว บนเท้าซ้าย ยกแขนทั้งสอง ข้างขึ้นเหนือศีรษะ อย่าให้ข้อศอกงอ และให้ฝ่ามือประชิดกัน

คงท่านี้ไว้ขณะค่อยๆ หายใจ ประมาณ 10 ช่วงหายใจเข้าออก


• ลดแขนและขาขวาลง และกลับไปสู่ตำแหน่งในข้อ 1 คือการยืนหน้าชิด แขนแนบลำตัว หยุดพักสักครู่ และทำซ้ำด้วยขาข้างหนึ่ง



ศพอาสนะ



ความหมาย

• ความหมาย คำว่า ศพ ในภาษาสันสกฤต หมายถึง ร่างที่ตายไปแล้ว

"การนอนลงที่พื้นเหมือนศพ เรียกว่า ศพอาสนะ ช่วยกำจัดความเหนื่อยล้าและให้จิตใจได้พักผ่อน" จากหัตถโยคะปฏิบัติ

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงาย อย่าให้ขาแตะกัน แขนราบไปกับลำตัว ฝ่ามือหงายขึ้น

• หลับตาลง ผ่อนคลายกล้ามเนื้อใบหน้า หายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ

• งอข้อศอก วางฝ่ามือบนพื้นใต้ไหล่ ให้นิ้วชี้ไปด้านหลัง

• มุ่งความสนใจไปที่อวัยวะแต่ละส่วนของร่างกาย จากหัวถึงเท้า แล้วค่อยๆ ผ่อนคลายทีละส่วน

• คงท่านี้ไว้ 10-15 นาที หากรู้สึกง่วงนอนขณะทำท่านี้ ให้หายใจเร็วและลึกขึ้น

• ครั้งแรกที่ฝึก ให้คงท่าศพอาสนะไว้ 10 หรือ 15 นาที กลับมาทำซ้ำเป็นระยะๆ ในช่วงฝึกท่าต่างๆ เพื่อผ่อนคลายและกระตุ้นร่างกาย / จิตใจ

คำแนะนำ

บางคนคิดว่าท่านี้ง่ายมาก แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่อย่างนั้น จุดประสงค์ของศพอาสนะ คือ ให้ร่างกายและจิตใจผ่อนคลาย

นอกจากร่างกายจะต้องนิ่งและผ่อนคลายแล้ว จิตใจยังต้องนิ่งราวกับผิวน้ำที่ปราศจากการรบกวนอีกด้วย

ผลที่ได้คือการผ่อนคลายอย่างล้ำลึกและนิ่ง อันจะส่งผลให้เกิดสมาธิต่อไป

การฝึกศพอาสนะนั้นต้องใช้เวลา การกำหนดความสนใจไปที่อวัยวะแต่ละส่วนและ กำหนดลมหายใจล้วนแต่มีประโยชน์ต่อการฝึกท่านี้อย่างยิ่ง

อุปสรรค 2 อย่างที่อาจลดคุณค่าการฝึกศพอาสนะ ก็คือ ความง่วงและจิตใจที่ฟุ้งซ่าน หากรู้สึกง่วงขณะฝึก ให้กำหนดลมหายใจให้ลึกขึ้น

หากจิตใจไม่นิ่ง ให้มุ่งความสนใจไปที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย กำหนดจิตไปที่พื้นหรือที่จังหวะลมหายใจของคุณเอง

การฝึกศพอาสนะควรทำก่อนและหลังการฝึกอาสนะเป็นประจำ


ข้อมูลจาก
Practice 01





------------------------------------------------------------------------------



ข้าพเจ้าขออาราธนาบารมีของพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระอริยสาวกทุกองค์พระโพธิ์สัตว์ทุกองค์
พรหมทุกองค์ เทพเทวาทุกองค์ ครูอุปฌาอาจารย์สืบๆ ต่อๆกันมา พ่อเกิดแม่เกิดทุกภพชาติ ผู้มีคุณผู้สูงชาติทุก ๆ ท่าน
จงมาสถิตอยู่เหนือเศียรเกล้าข้าพเจ้า ขอให้คำอธิษฐานของข้าพเจ้าศักดิ์สิทธิ์จงมีฤทธิ์ทุกประการเทอญ

ด้วยเดชะ กุศลผลบุญอันข้าพเจ้าได้กระทำแล้วนี้ และบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้กระทำสร้างสมมาทุกภพทุกชาติ
ขอน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว องค์พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ท่าน
เทพเทวดาที่ปกปักรักษาพระองค์ท่าน พระสยามเทวาธิราช ตลอดจนดวงพระวิญญาณของบูรพกษัตริยาธิราชเจ้า
ดวงวิญญาณของขุนศึกแม่ทัพ และเทพเทวดาที่ปกปักรักษาบ้านเมือง

ขอให้พี่น้องประชาชนทั้งหลายเป็นผู้มั่นคงและถึงพร้อมด้วยความดี
เพื่อแผ่นดินไทยอยู่อย่างผาสุกตลอดกาลและนาน เทอญ

พุทธัง อนันตัง ธัมมัง จักกะวาลัง สังฆัง นิพพานัง ปัจจะโย โหนตุ




0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Watdonsawan วัดดอนสวรรค์วนาราม บ้านดอนสวรรค์ ต.บ้านต้อง อ. เซกา จ.หนองคาย



Featured Video

 



 ดาวน์โหลด คลิ๊กขวาเลือก Save Target As

สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี
Artist: สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี

 คลิกฟังออนไลน์ :
001-สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี บทที่1.mp3

 คลิกฟังออนไลน์ :
002-สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี บทที่2.mp3

 คลิกฟังออนไลน์ :
003-สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี บทที่3.mp3

 คลิกฟังออนไลน์ :
004-สวดมนต์ธิเบต-อภิตาภ สุขาวดี ธารณี บทที่4.mp3

 คลิกฟังออนไลน์ :
หัวใจโชคลาภ.mp3

 คลิกฟังออนไลน์ :
Dharmagita_Metta.mp3

พระอมิตาภ เป็นที่เคารพอย่างสูงในคติพุทธนิกายสุขาวดี ตำนานกล่าวว่า พระองค์ทรงตั้งปณิธานเมื่อครั้งยังเป็นพระภิกษุรูปหนึ่ง นามว่า "ธรรมากรเถระ" ได้ตั้งปณิธานขอบรรลุพุทธภูมิ และขอให้โลกธาตุ หรือพุทธเกษตรของพระองค์ มีทิพยสุขเป็นอย่างยิ่ง สรรพสัตว์ เหล่าใด ปรารถนาจะบังเกิดในโลกธาตุสุขาวดี ขอเพียงเปล่งพระนามของพระอมิตาภ ก็สามรถไปอุบัติในสุขาวดีได้แล้ว แม้จะทำบาปหนักเท่าใด ก็สามารถไปอบรมบ่มเพาะในแดนสุขาวดีจนบริสุทธิ์ได้ ถือกันว่า พระ องค์เป็นพระพุทธเจ้าผู้เป็นประธาน ทรงประทับอยู่ในพุทธเกษตร "สุขาวดี" (the Pure Land of the Western Paradise) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกมนุษย์ ไปทางทิศตะวันตก แสนโกฏิโลกธาตุ ในพุทธเกษตรของพระพุทธอมิตาภนั้น สรรพสัตว์ผุ้อยู่ในดินแดนนั้นมีความสุขขสูงสุด และเป็นผู้เที่ยงแท้ต่อพระนิพพาน ตำรากล่าวว่า สุขาวดีเปรียบเหมือนที่พักระหว่างวัฏสงสารกับนิพพาน ซึ่งหากจะเปรียบกับฝ่ายเถรวาท สุขาวดีอาจจะเหมือนกับแดนสุทธาวาสพรหมโลก แนวคิดของนิกายสุขาวดีนั้น คล้ายกับจะใช้เป็นหลักในการแข่งขันกับศาสนาคริสต์ ซึ่งมีการอ้อนวอนสวดล้างบาปได้ นิกายสุขาวดีก็ถือว่า แม้คนชั่ว ก็สามารถไปบังเกิดในสุขาวดีได้ เพียงเปล่งพระนามถึงพระอมิตาภเป็นสรณะ แต่โดยหลักที่แท้แล้ว ก็ใช่ว่าจะล้างบาปโดยสิ้นเชิง เพียงแต่เก็บบาปนั้นไว้ ไม่ต้องไปตกอบายภูมิ แต่ให้ไปเกิดในแดนสุขาวดี อบรมบ่มเพาะอยู่ภายในดอกปทุม ชำระล้างจิตใจให้บริสุทธิ์ จึงจะออกจากดอกปุทม และอยุ่ในแดนสุขาวดีได้ บางคนที่ชั่วมากๆ อาจจะถูกอบรมชำระล้างอยู่ในดอกปทุมเป็นหลายๆโกฏิปีก็ได้
วัดดอนสวรรค์วนาราม

อเมริกาและภูลังกา


 
Design by Wordpress Templates | Bloggerized by Free Blogger Templates | Web Hosting Comparisons